ทีมนักวิจัย Operation Bim


d01
ศ.ดร.พิเชษฐ์  วิริยะจิตรา (ประธานและกรรมการผู้จัดการ บริษัทเอเซี่ยน ไฟย์โตซูติคอลส์ จก(มหาชน))

(นักวิจัยเคมีอินทรีย์และฤทธิ์ชีวภาพของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ) นัก วิจัยผู้ศึกษาสารสกัดและฤทธิ์ทางชีวภาพของพืชสมุนไพรกว่า 200 ชนิด เป็นนักวิจัยรับเชิญของสถาบันวิจัยมะเร็ง ในประเทศเยอรมัน ทำการสอนและการวิจัยในคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รวมเวลา 26 ปี ก่อนหันทิศทางชีวิตออกจากมหาวิทยาลัย จัดตั้งบริษัทเอกชนที่ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการวิจัย พัฒนาและพาณิชย์ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ปัจจุบันเป็น ประธานกรรมการ และ CEO ของ Asian Phytoceuticals Public Co., Ltd.

ประวัติการศึกษา

  • เตรียมอุดมศึกษา
  • นักศึกษา ปีที่ 1 มหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์
  • ปริญญาตรี (เกียรตินิยม) ทางวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย Western Australia
  • ปริญญาเอก เคมีอินทรีย์ มหาวิทยาลัย Tasmania, Australia
  • Post ? doctoral Fellow (NIH), University of Connecticut U.S.A
  • Post ? doctoral Fellow (NSF), University of Pennsylvania U.S.A

ประสบการณ์ทำงาน

  • อาจารย์ ? ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ? รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารย์ทางเคมี
  • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ผู้ช่วยอธิการบดี ? คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • Guest Scientist ? Japan Society for the Promotion of Science
  • Guest Scientist ? German Cancer Research Center

งานวิจัย

  • ผลการวิจัยพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์ในและต่างประเทศ 80 เรื่อง
  • เจ้าของสารสกัดจากผลส้มการ์ซีเนีย สูตร Super Hi ? Sol?
  • เจ้าของผลงานสารสกัดจากเปลือกมังคุด สูตร GM ? 1
  • เจ้าของผลงานสารสกัดจากธรรมชาติ สูตร SlimSAFE? ในครีมกระชับสัดส่วน
  • เจ้าของผลงานสารสกัดจากธรรมชาติ สูตร Slimface? ในโลชั่นกระชับรูปหน้า

ตำแหน่งปัจจุบัน

  • กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอเชียน ไฟย์โตซูติคอลส์ จำกัด (มหาชน)
  • กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอเชียนไลฟ์ จำกัด
  • กรรมการผู้จัดการ บริษัท กรีนโกลด์ จำกัด

d02
2. ภญ.รองศาสตราจารย์ ดร.อำไพ  ปั้นทอง (ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

นักวิจัยผู้เชี่ยวชาญด้านเภสัชวิทยา และ พิษวิทยาของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ) ผู้เชี่ยวชาญของ UNESCO ทางด้านการศึกษาฤทธิ์การต้านการอักเสบของสารสกัดจากสมุนไพรในเอเชีย และ ทำการสอนและการวิจัยในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มากกว่า 35 ปี

ประวัติการศึกษา

  • 2507-2512 เภสัชศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 2515-2517 เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 2518-2522 ดุษฎีบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยา มหาวิทยาลัยบอนน์ ประเทศเยอรมันนี

ความชำนาญพิเศษ

  • Pharmacological activities of medicinal plants, especially, analgesic, antipyretic and anti-inflammatory, bronchodilator, antihypertensive, anti-ulcer, gastro?intestinal stimulant or relaxant as well as central nervous system activities.
  • Toxicology testing: acute, subacute, subchronic and chronic toxicity as well as dermal toxicity.

งานวิจัย

  • หัวหน้าโครงการวิจัย :
    1. ฤทธิ์ ต้านการอักเสบ ระงับปวด และลดไข้ ของสารสกัดจากต้นโปร่งกิ่ว
    2. ฤทธิ์ระงับปวด ต้านการอักเสบ และหดหลอดเลือดดำของต้นอัคคีทวาร
    3. ฤทธิ์เป็นยาระบายของน้ำมะขาม
    4. พิษเฉียบพลัน พิษกึ่งเรื้อรัง และฤทธิ์ระคายเคืองต่อผิวหนังของผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืชไบโอเพส
    5. ฤทธิ์ระงับปวดและต้านการอักเสบของน้ำมันเถาเอ็นอ่อนในสัตว์ทดลองและ ประสิทธิภาพในผู้ป่วย ข้อเข่าเสื่อมเทียบกับไดโคลฟิแนคเจล

 

  • ผู้ร่วมวิจัย
    1.ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ระงับปวด และลดไข้ และการศึกษาความเป็นพิษของน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์

งานวิจัยที่กำลังทำ

1. ฤทธิ์ ต้านการอักเสบ ระงับปวด และลดไข้ ของสารสกัดจากต้นโปร่งกิ่ว
แหล่งทุน ศูนย์นวัตกรรมทางเคมี:โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี
สถานภาพในการทำวิจัย 90%
2. ฤทธิ์ระงับปวด ต้านการอักเสบ และหดหลอดเลือดดำของต้นอัคคีทวาร
แหล่งทุน ศูนย์นวัตกรรมทางเคมี:โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี
สถานภาพในการทำวิจัย 90%
3. ฤทธิ์เป็นยาระบายของน้ำมะขาม
แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณแผ่นดิน 2549-2551
สถานภาพในการทำวิจัย 40%
4. ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ระงับปวด และลดไข้ และการศึกษาความเป็นพิษของน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์
แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ปี 2550-2551
สถานภาพในการทำวิจัย 50%
5. พิษเฉียบพลัน พิษกึ่งเรื้อรัง และฤทธิ์ระคายเคืองต่อผิวหนังของผลิตภัณฑ์กำจัดสัตรูพืชไบโอเพส
แหล่งทุน กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สถานภาพในการทำวิจัย 50%
6. ฤทธิ์ระงับปวดและต้านการอักเสบของน้ำมันเถาเอ็นอ่อนในสัตว์ทดลอง และประสิทธิภาพใน ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมเทียบกับไดโคลฟิแนคเจล
แหล่งทุน โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่ 10 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และทุน
ศูนย์นวัตกรรมทางเคมี:โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี
เริ่ม พฤศจิกายน ปี 2550
สถานภาพในการทำวิจัย 2%

d05
3. ภญ.รองศ.ดร.เสาวลักษณ์  พงษ์ไพจิตร (ภาควิชาจุลชีววิทยา  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)

Associate Professor Dr. Souwalak Phongpaichit

ประวัติการศึกษา

  • 2519 ภ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) เภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2521 วท.ม. จุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 2531 Dr. sc. hum จุลชีววิทยา University of Heidelberg, FR. Germany

สาขาที่เชี่ยวชาญ

  • Medical and General Mycology,
  • Antimicrobial Susceptibility Testing
  • Antimicrobial Activities of Natural Products

งานวิจัย

หัวหน้าโครงการวิจัย
1. Metabolites จากเชื้อราที่แยกได้จากกัลปังหาและฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์
2. การแยก การจำแนก ฤทธิ์ทางชีวภาพ และองค์ประกอบทางเคมีของราเอนโดไฟท์ในภาคใต้ ของประเทศไทย
3. Molecular characteristics of multiple antibiotic-resistant Escherichia coli isolated from diarrhoeal pigs and retail pork
4. การคัดเลือกราเอนโดไฟท์ที่ผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืชในสกุล Garcinia ในภาคใต้ ของไทย
5. การจำแนกราแมลง Hypocrella scutata ที่ป่าพรุสิรินธรโดยวิธีทางอณูวิทยา และฤทธิ์ทาง ชีวภาพของสารที่ราสร้าง
6. Effect of medicinal plant extracts on microorganisms causing opportunistic infections in AIDS patients
7. Antimicrobial activity of some Thai medicinal plant extracts against Helicobacter pylori
8. Antimicrobial activity of extracts from Cassia sp.
9. Biodiversity of aquatic hyphomycetes at Ton Nga Chang Wildlife Sanctuary
10. Biodiversity of macrofungi in Hala-Bala Wildlife Sanctuary, Narathivart
11. Study of plant crude extracts for control of chilli anthracnose

 

d06
4. รองศ.ดร.วิลาวัลย์ มหาบุษราคัม (ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงให
ม่)
และ ภ.ญ. รศ.ดร. เสาวลักษณ์ พงษ์ไพจิตร (เภสัชกรและนักวิจัยจุลชีววิทยา) ซึ่งนอกจากจะเป็นผู้ทำงานการสอนและ การวิจัยในคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มากว่า 20 ปีแล้ว ยังเป็นนักวิจัยชั้นนำของสถานวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติในมหาวิทยาลัยเดียวกัน อีกด้วย

ประวัติการศึกษา

  • 2526 วท.บ. เคมี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • 2529 วท.ม. เคมีอินทรีย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • 2536 Ph.D. Organic Chemistry University of Sydney, Australia

สาขาที่เชี่ยวชาญ เคมีอินทรีย์ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ

งานวิจัย

หัวหน้าโครงการวิจัย
1. Antimalarial substances derived from mangosteen
2. สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากมะพูด
3. องค์ประกอบทางเคมีจากลำต้นเถาวัลย์เปรียงและฤทธิ์ต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน
4. องค์ประกอบทางเคมีจากยางชะมวงและฤทธิ์ต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน
5. องค์ประกอบทางเคมีจากใบกระ ดูกไก่
6. องค์ประกอบทางเคมีจากต้นยอป่า
7. องค์ประกอบทางเคมีจากใบมะม่วงป่าและฤทธิ์ต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน
8. สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเมล็ดและดอกมะพูด
9. องค์ประกอบทางเคมีจากรากติ้วเกลี้ยง

d04
5. รองศ.ดร.ศิริวรรณ องค์ไชย (แย้มนิยม) ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

นัก วิจัยผู้เชี่ยวชาญด้านผลของสมุนไพรต่อกระดูกอ่อนของศูนย์ความเป็นเลิศใน การวิจัยวิศวกรรมเนื้อเยื่อ ทำการสอนและการวิจัย ในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มากว่า 15 ปี

ประวัติการศึกษา

  • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ชีวเคมี) 2542 มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ
  • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีวเคมี) 2530 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศไทย
  • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) 2525 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ประเทศไทย

สาขาที่เชี่ยวชาญ

1. การตรวจสอบฤทธิ์สารจากธรรมชาติและพืชสมุนไพรต้านโรคข้อเสื่อม
2. ชีวเคมีของโรคข้อกระดูกเสื่อม
3. Biochemistry of extracellular matrix
4. Thalassemia and abnormal hemoglobins

รางวัลที่เคยได้รับ

พ.ศ. 2538-2542
ทุน กพ.เพื่อศึกษาต่อปริญญาเอกประเทศอังกฤษ

พ.ศ. 2539-2540
ทุนสมทบการศึกษาปริญญาเอกจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พ.ศ. 2544
เกียรติบัตรรางวัลประเภทดีในการประกวดผลงานทางวิชาการวันมหิดล ครั้งที่ 25 ประเภทงานวิจัยพื้นฐาน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เรื่อง ?การฉีด Hydrocortisone succinate เข้าข้อเข่าสามารถเหนี่ยวนำให้เกิดการเสื่อมทำลาย กระดูกอ่อนผิวข้อของกระต่าย?

พ.ศ. 2544
เกียรติบัตรรางวัลประเภทดีในการประกวดผลงานทางวิชาการวันมหิดล ครั้งที่ 25 ประเภทงานวิจัยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เรื่อง ?ชุดน้ำยาสำเร็จรูปต้นแบบสำหรับการตรวจวัดระดับไฮยาลูโรแนน เพื่อการวินิจฉัยโรค ?

พ.ศ. 2545
เกียรติบัตรรางวัลประเภทดีในการประกวดผลงานทางวิชาการวันมหิดล ครั้งที่ 26 ประเภทงานวิจัยพื้นฐานคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เรื่อง ?การเปลี่ยนแปลงระดับไฮยาลูโรแนนและคอนดรอยตินซัลเฟตอิพิโทปในซีรั่มของม้า
ที่ช่วงอายุต่าง ๆ และม้าที่เป็นโรคข้อเสื่อม?

พ.ศ. 2548
รางวัลโปสเตอร์ประเภทดีในการประกวดผลงานทางวิชาการวันมหิดลครั้งที่ 29 ประจำปี2550 ประเภทการวิจัยพื้นฐาน คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง ?Zingiber Cassumunar RoxB. Extract inhibits gelatinase activity in oral epithelial cells?

พ.ศ. 2549
เกียรติบัตรผู้ปฏิบัติหน้าที่กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ได้อย่างมีคุณภาพดียิ่ง
ทำให้วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิตสาขาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ของนางสาวพีรพรรณ โปธาเจริญ ได้รับการพิจารณาให้เป็น วิทยานิพนธ์ดีมาก
ประจำปีการศึกษา 2549


Visitors: 74,671